Course Description   (คำอธิบายหลักสูตร)

รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต ระดับประถมศึกษาชั้นปีที่ 6 นี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้สถานศึกษาที่จัดทำการสอนในระดับประถมศึกษาชั้นปีที่ 6 นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพิ่มเติมจากหลักสูตรปกติ เพื่อปลูกฝังการเป็นพลเมืองที่ซื่อสัตย์สุจริตให้กับเยาวชน นำไปสู่เป้าหมายการลดปัญหาทุจริตคอร์รัปชันของประเทศ

Course Outline   (โครงสร้างรายวิชา)

  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านทุจริต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองกับการรับผิดชอบของสังคม

Instruction Method and Assessment   (วิธีการสอนและการประเมินผล)

สื่อ e-Learning จำนวน 4 เรื่อง ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) นักเรียนแต่ละคนต้องมีบัญชี (Account) ของตนเองในการเข้าสู่ระบบ (Login) เพื่อเข้าเรียนและทำแบบทดสอบ หากได้คะแนนผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 70 จะได้รับใบประกาศนียบัตรจาก ป.ป.ช.

บทเรียนแบบ e-Learning

ผลประโยชน์ของประเทศ
ความรับผิดชอบต่อหน้าที่
มาช่วยกันดูแลสิ่งแวดล้อม
ความเป็นพลเมือง

ผลประโยชน์ของประเทศ

แผนการจัดการเรียนรู้

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในระดับประเทศ


จุดประสงค์การเรียนรู้

สามารถวิเคราะห์ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมนำไปสู่การทุจริตในประเทศได้


การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

ความรับผิดชอบต่อหน้าที่

แผนการจัดการเรียนรู้

ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริตในระดับประเทศ


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. อธิบายความหมายของคำว่าละอาย ความไม่ทน และการทุจริตในระดับประเทศได้
  2. แสดงตัวอย่างการปฏิบัติตนเป็นผู้ไม่ทนและละอายต่อการทุจริตทุกรูปแบบได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

มาช่วยกันดูแลสิ่งแวดล้อม

แผนการจัดการเรียนรู้

การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. บอกความหมายของคำว่าทุจริตได้
  2. บอกผลเสียของการทุจริตได้
  3. บอกการกระทำที่เป็นการต่อต้านการทุจริตในเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้
  4. อธิบายความสำคัญของการต่อต้านและป้องกันการทุจริตในเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

ความเป็นพลเมือง

แผนการจัดการเรียนรู้

ความหมายของคำว่าพลเมืองและที่มาของคำว่าพลเมือง ประชากร ประชาชน และราษฎร


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. สามารถบอกความหมายและความแตกต่างของคำว่า พลเมือง ประชาชน ประชากร ราษฎรได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

บทเรียนแบบ e-Book

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม

ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต

STRONG จิตพอเพียงต้านทุจริต

พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  1. การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
    • 1.1 การวิเคราะห์ วิจารณ์ ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในประเทศ
    • 1.2 การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนออกจากผลประโยชน์ส่วนรวม โดยใช้ระบบคิดฐานสองในระดับประเทศ
    • 1.3 พฤติกรรมระบบคิดฐานสิบที่เกิดขึ้นในระดับประเทศ
    • 1.4 ผลของพฤติกรรมระบบคิดฐานสิบที่ส่งผลในระดับประเทศ
    • 1.5 การเปรียบเทียบผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในประเทศ
    • 1.6 ข้อดี ข้อเสีย ของผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในระดับประเทศ
  2. ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริต
    • 2.1 การทุจริตที่เกิดขึ้นภายในโรงเรียน
    • 2.2 จริยธรรมที่ใช้ในการป้องกันการทุจริตภายในโรงเรียน
  3. การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
    • 3.1 ความหมายของคำว่า “การขัดกัน”
    • 3.2 ผลกระทบการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในประเทศชาติ
    • 3.3 วิธีการแก้ไขความขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม
  4. ผลประโยชน์ทับซ้อนและรูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อน
    • 4.1 สาเหตุการเกิดของผลประโยชน์ทับซ้อนภายในชุมชน
    • 4.2 รูปแบบผลประโยชน์ทับซ้อนภายในชุมชน
    • 4.3 แนวทางการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในชุมชน
ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  1. ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริตในระดับประเทศ
    • 1.1 กิจกรรมที่ปฏิบัติและส่งผลให้เกิดความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริตในระดับประเทศ
    • 1.2 แนวทางการปฏิบัติตนเป็นผู้มีความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริตในระดับประเทศ
STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
  1. การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
  2. การอนุรักษ์แหล่งน้ำที่สอดคล้องกับ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
  3. การเสียภาษีที่สอดคล้องกับ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
  4. การเลือกตั้งที่สอดคล้องกับ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
  5. พื้นที่สาธารณะที่สอดคล้องกับ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม
  1. ความหมายของคำว่าพลเมือง
  2. ที่มาของคำศัพท์ที่เกี่ยวกับพลเมือง
    • 2.1 ประชาชน
    • 2.2 ประชากร
    • 2.3 ราษฎร
  3. การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างราษฎรกับพลเมือง
  4. การเสียภาษีและการปฏิบัติตนตามกฎหมาย
    • 4.1 กฎหมายสิ่งแวดล้อม
    • 4.2 การรักษาความสะอาดตามกฎหมาย (โทษปรับ)
  5. สิทธิและหน้าที่การเลือกตั้ง
  6. การสร้างสำนึกพลเมืองต่อชุมชน

ร้านหนังสือ   (e-Book Store)

สงวนลิขสิทธิ์ 2565 สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ต้องการความช่วยเหลือ ?