Course Description   (คำอธิบายหลักสูตร)

รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต ระดับประถมศึกษาชั้นปีที่ 4 นี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้สถานศึกษาที่จัดทำการสอนในระดับประถมศึกษาชั้นปีที่ 4 นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพิ่มเติมจากหลักสูตรปกติ เพื่อปลูกฝังการเป็นพลเมืองที่ซื่อสัตย์สุจริตให้กับเยาวชน นำไปสู่เป้าหมายการลดปัญหาทุจริตคอร์รัปชันของประเทศ

Course Outline   (โครงสร้างรายวิชา)

  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านทุจริต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองกับการรับผิดชอบของสังคม

Instruction Method and Assessment   (วิธีการสอนและการประเมินผล)

สื่อ e-Learning จำนวน 4 เรื่อง ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) นักเรียนแต่ละคนต้องมีบัญชี (Account) ของตนเองในการเข้าสู่ระบบ (Login) เพื่อเข้าเรียนและทำแบบทดสอบ หากได้คะแนนผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 70 จะได้รับใบประกาศนียบัตรจาก ป.ป.ช.

บทเรียนแบบ e-Learning

ช่วยกันรักษาประโยชน์ของชุมชน
ชุมชนสะอาดน่าอยู่
เราต้อง STRONG
สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกชุมชน

ช่วยกันรักษาประโยชน์ของชุมชน

แผนการจัดการเรียนรู้

วิเคราะห์การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในชุมชน


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมได้
  2. แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในชุมชนได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

ชุมชนสะอาดน่าอยู่

แผนการจัดการเรียนรู้

ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต : การทิ้งขยะไม่เป็นที่ในชุมชน


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. บอกผลกระทบของการทิ้งขยะไม่เป็นที่ในชุมชนได้
  2. สามารถระบุประเภทของขยะและแสดงตัวอย่างได้
  3. ระบุผลดีของการทิ้งขยะให้ถูกที่และคัดแยกขยะได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

เราต้อง STRONG

แผนการจัดการเรียนรู้

การเลือกตั้งท้องถิ่นที่สอดคล้องกับ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. วิเคราะห์สถานการณ์การเลือกตั้งท้องถิ่นที่สอดคล้องกับ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริตได้
  2. แสดงตัวอย่าง STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริตในชีวิตประจำวันได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกชุมชน

แผนการจัดการเรียนรู้

การเคารพสิทธิหน้าที่ต่อตนเองและผู้อื่นที่มีต่อชุมชน


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. แสดงตัวอย่างของบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชนได้
  2. บอกแนวทางการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิหน้าที่ของสมาชิกในชุมชนได้
  3. บอกผลที่ได้รับจากการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิหน้าที่ของสมาชิกในชุมชนได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

บทเรียนแบบ e-Book

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม

ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต

STRONG จิตพอเพียงต้านทุจริต

พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  1. วิเคราะห์แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในชุมชน
  2. การเปรียบเทียบผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในชุมชน
  3. ข้อดี ข้อเสีย ของผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในระดับชุมชน (ใช้กฎหมายเทศบาล/อบต./ป่าไม้/ที่สาธารณะ)
  4. การแยกผลประโยชน์ส่วนตนออกจากผลประโยชน์ส่วนรวม โดยใช้ระบบคิดฐานสองในระดับชุมชน
  5. พฤติกรรมระบบคิดฐานสิบในระดับชุมชน
  6. ผลของพฤติกรรมระบบคิดฐานสิบที่ส่งผลในระดับชุมชน
  7. ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริต
    • 7.1 ความหมายของจริยธรรม
    • 7.2 ความหมายของการทุจริต
    • 7.3 ตัวอย่างของจริยธรรมและการทุจริต
  8. การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
    • ผลกระทบจากการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในหมู่บ้าน
    • วิธีการแก้ไขการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในหมู่บ้าน
  9. ผลประโยชน์ทับซ้อน
    • ความหมายของผลประโยชน์ทับซ้อน
    • ตัวอย่างของผลประโยชน์ทับซ้อน
ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  1. ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริตในชุมชน
    • 1.1 การทิ้งขยะไม่เป็นที่ในชุมชน
    • 1.2 การละเมิดข้อตกลงเกี่ยวกับการใช้สถานที่ในชุมชน
  2. กิจกรรมที่ปฏิบัติและส่งผลให้เกิดความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริตในชุมชน
STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
  1. การเลือกตั้งท้องถิ่นที่สอดคล้องกับ STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านทุจริต
  2. การทิ้งขยะในชุมชนที่สอดคล้องกับ STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านทุจริต
  3. อาชีพในชุมชนที่สอดคล้องกับ STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านทุจริต
  4. การใช้พื้นที่สาธารณะในชุมชนที่สอดคล้องกับ STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านทุจริต
พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม
  1. การเคารพสิทธิและหน้าที่ของตนเองและผู้อื่นในชุมชน
  2. สิทธิที่ได้รับในชุมชน
    • 2.1 ทางสาธารณะ
    • 2.2 พื้นที่สาธารณะ
    • 2.3 ประชาสัมพันธ์หมู่บ้าน
    • 2.4 ไฟสาธารณะหมู่บ้าน
  3. หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติต่อชุมชน
    • 3.1 การร่วมกิจกรรมหมู่บ้าน
    • 3.2 ให้ความช่วยเหลือ
    • 3.3 จิตสาธารณะ
    • 3.4 ดูแลรักษาสาธารณสมบัติของหมู่บ้าน
  4. ความเป็นพลเมือง
    • 4.1 ปฏิบัติตามกฎ กติกา ระเบียบ ข้อตกลง วัฒนธรรมในหมู่บ้าน
    • 4.2 การต่อต้านการทุจริตในหมู่บ้าน

ร้านหนังสือ   (e-Book Store)

สงวนลิขสิทธิ์ 2565 สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ต้องการความช่วยเหลือ ?