Course Description   (คำอธิบายหลักสูตร)

รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต ระดับประถมศึกษาชั้นปีที่ 1 นี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้สถานศึกษาที่จัดทำการสอนในระดับประถมศึกษาชั้นปีที่ 1 นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพิ่มเติมจากหลักสูตรปกติ เพื่อปลูกฝังการเป็นพลเมืองที่ซื่อสัตย์สุจริตให้กับเยาวชน นำไปสู่เป้าหมายการลดปัญหาทุจริตคอร์รัปชันของประเทศ

Course Outline   (โครงสร้างรายวิชา)

  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านทุจริต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองกับการรับผิดชอบของสังคม

Instruction Method and Assessment   (วิธีการสอนและการประเมินผล)

สื่อ e-Learning จำนวน 4 เรื่อง ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) นักเรียนแต่ละคนต้องมีบัญชี (Account) ของตนเองในการเข้าสู่ระบบ (Login) เพื่อเข้าเรียนและทำแบบทดสอบ หากได้คะแนนผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 70 จะได้รับใบประกาศนียบัตรจาก ป.ป.ช.

บทเรียนแบบ e-Learning

ใช้ของส่วนตนและของส่วนรวมอย่างถูกต้อง
เด็กดีไม่ชอบการทุจริต
เรา STRONG หรือยัง
ความรับผิดชอบของเด็ก

ใช้ของส่วนตนและของส่วนรวมอย่างถูกต้อง

แผนการจัดการเรียนรู้

การคิดแยกแยะ : ของใช้ส่วนตนและส่วนรวม (ภายในบ้าน ภายในห้องเรียน)


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. บอกความหมายของของใช้ส่วนตนและของใช้ส่วนรวมได้
  2. จำแนกของใช้ส่วนตนกับของใช้ส่วนรวมได้ (ภายในบ้าน ภายในห้องเรียน)
  3. ใช้ของใช้ส่วนตนและของใช้ส่วนรวมอย่างถูกต้อง เหมาะสม

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

เด็กดีไม่ชอบการทุจริต

แผนการจัดการเรียนรู้

ความหมายของความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. นักเรียนบอกความหมายของคำว่าทุจริตได้
  2. นักเรียนบอกความหมายของคำว่าละอายได้
  3. นักเรียนบอกความหมายของความไม่ทนต่อการทุจริตได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

เรา STONG หรือยัง

แผนการจัดการเรียนรู้

ความหมายของ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต


จุดประสงค์การเรียนรู้

นักเรียนบอกความหมายของ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริตได้


การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม

แผนการจัดการเรียนรู้

ความหมายและตัวอย่างของความรับผิดชอบ


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. นักเรียนสามารถบอกความหมายของความรับผิดชอบได้
  2. นักเรียนสามารถยกตัวอย่างความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่นได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

บทเรียนแบบ e-Book

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม

ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต

STRONG จิตพอเพียงต้านการทุจริต

พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  1. ของใช้ส่วนตนและส่วนรวม (ภายในบ้าน ภายในห้องเรียน)
    • 1.1 ความหมายของใช้ส่วนตนและส่วนรวม
    • 1.2 การจำแนกของใช้ส่วนตนและส่วนรวม
  2. สถานที่ส่วนตนและส่วนรวม (ภายในบ้าน ภายในห้องเรียน)
    • 2.1 ความหมายของสถานที่ส่วนตนและส่วนรวม
    • 2.2 การจำแนกสถานที่ส่วนตนและส่วนรวม
  3. ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (ภายในบ้าน ภายในห้องเรียน)
    • 3.1 ความหมายของผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
    • 3.2 การจำแนกผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  4. ความหมายของระบบคิดฐานสองและพฤติกรรมแบบระบบคิดฐานสอง
  5. สถานการณ์ใกล้ตัว ภายในบ้านและห้องเรียน ที่สื่อถึงระบบคิดฐานสอง
  6. ยกตัวอย่างพฤติกรรมแบบระบบคิดฐานสอง
  7. แยกแยะพฤติกรรมที่แสดงออกแบบระบบคิดฐานสอง
  8. การประยุกต์ใช้ระบบคิดฐานสองในชีวิตประจำวัน (ภายในบ้านและครอบครัว)
  9. ความหมายของระบบคิดฐานสิบ และพฤติกรรมของระบบคิดฐานสิบ (ครอบครัว ห้องเรียน)
  10. สถานการณ์ใกล้ตัว ภายในบ้านและครอบครัวที่สื่อถึงระบบคิดฐานสิบ
  11. ยกตัวอย่างพฤติกรรมแบบระบบคิดฐานสิบ
  12. แยกแยะพฤติกรรมที่แสดงออกแบบระบบคิดฐานสิบ
ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  1. ความหมายความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  2. กิจกรรมภายในห้องเรียน
    • 2.1 การเข้าแถว
    • 2.2 การทำเวร
    • 2.3 การเลือกหัวหน้าห้อง
  3. กิจกรรมที่ส่งผลให้เกิดความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ผลดี/ผลเสีย
  4. แนวทางการปฏิบัติตนเป็นผู้มีความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
  1. ความหมายของ STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
  2. กิจกรรมในห้องเรียนที่ยึดหลัก STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
    • 2.1 การเลือกตั้งหัวหน้าห้อง
    • 2.2 การทำความสะอาดห้องเรียน
    • 2.3 การวางรองเท้า
    • 2.4 การประดิษฐ์สิ่งของจากเศษวัสดุ
พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม
  1. ความหมายของความรับผิดชอบ
  2. ยกตัวอย่างความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
  3. ความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน
    • 3.1 ภายในบ้าน
      • การทำความสะอาดบ้าน
      • การล้างจาน
      • การรดน้ำต้นไม้
    • 3.2 ภายในห้องเรียน
      • การวางรองเท้า
      • การทำความสะอาดห้องเรียน
      • การใช้ของส่วนรวมในห้องเรียน
  4. ความเป็นพลเมือง
    • 4.1 การอยู่ร่วมกันในห้องเรียน
    • 4.2 ข้อตกลงในห้องเรียน

ร้านหนังสือ   (e-Book Store)

สงวนลิขสิทธิ์ 2565 สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ต้องการความช่วยเหลือ ?