Course Description   (คำอธิบายหลักสูตร)

รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต ระดับปฐมวัยนี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้สถานศึกษาที่จัดทำการสอนในระดับปฐมวัยนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพิ่มเติมจากหลักสูตรปกติ เพื่อปลูกฝังการเป็นพลเมืองที่ซื่อสัตย์สุจริตให้กับเยาวชน นำไปสู่เป้าหมายการลดปัญหาทุจริตคอร์รัปชันของประเทศ

Course Outline   (โครงสร้างรายวิชา)

  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านทุจริต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองกับการรับผิดชอบของสังคม

Instruction Method and Assessment   (วิธีการสอนและการประเมินผล)

สื่อ e-Learning จำนวน 4 เรื่อง ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) นักเรียนแต่ละคนต้องมีบัญชี (Account) ของตนเองในการเข้าสู่ระบบ (Login) เพื่อเข้าเรียนและทำแบบทดสอบ หากได้คะแนนผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 70 จะได้รับใบประกาศนียบัตรจาก ป.ป.ช.

บทเรียนแบบ e-Learning

ของใช้ส่วนตัว ของใช้ส่วนรวมต่างกันอย่างไร
เล่นของเล่นอย่างไรดี
พอเพียงคืออะไร
อยากให้ฟันสะอาดต้องทำอย่างไร

ของใช้ส่วนตัว ของใช้ส่วนรวมต่างกันอย่างไร

แผนการจัดการเรียนรู้

ทฤษฎี ความหมายของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์


จุดประสงค์การเรียนรู้

บอกความหมายของของใช้ส่วนตนและของใช้ส่วนรวมได้


การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

เล่นของเล่นอย่างไรดี

แผนการจัดการเรียนรู้

ความหมายของความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. บอกความหมายของความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริตได้
  2. บอกวิธีการปฏิบัติตนในการเล่นของเล่นได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

พอเพียงคืออะไร

แผนการจัดการเรียนรู้

Sufficient : ความหมายของความพอเพียง


จุดประสงค์การเรียนรู้

บอกความหมายของความพอเพียงได้


การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

อยากให้ฟันสะอาดต้องทำอย่างไร

แผนการจัดการเรียนรู้

ความรับผิดชอบต่อตนเอง (การแปรงฟัน)


จุดประสงค์การเรียนรู้

บอกวิธีรักษาฟันของตนเองได้


การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

บทเรียนแบบ e-Book

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม

ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต

STRONG จิตพอเพียงต้านทุจริต

พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  1. ความหมายของของใช้ส่วนตนและของใช้ส่วนรวม
  2. การจำแนกของใช้ส่วนตนและของใช้ส่วนรวม
  3. การปฏิบัติตนในการใช้ของใช้ส่วนตนและของใช้ส่วนรวม
    • 3.1 ของเล่น
    • 3.2 การรับประทานอาหาร
    • 3.3 การเข้าแถว
    • 3.4 การเก็บของใช้ส่วนตน
    • 3.5 การทำงานที่ได้รับมอบหมาย
    • 3.6 การแบ่งปัน
    • 3.7 การแต่งกาย
    • 3.8 การแปรงฟันและการใช้น้ำอย่างถูกวิธี
    • 3.9 การใช้ห้องน้ำอย่างถูกวิธี
  4. ความหมายของระบบคิดฐานสอง และระบบคิดฐานสิบ
  5. การแยกแยะระบบคิดฐานสอง และระบบคิดฐานสิบ
ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  1. ความหมายของความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  2. การเก็บของเล่นให้เป็นระเบียบ
  3. ความละอาย และไม่แย่งหรือขโมยอาหารเพื่อน
  4. ความละอายและไม่แซงคิวผู้อื่น
  5. การใช้ของใช้ส่วนตนอย่างถูกวิธี
  6. ความละอายและไม่แย่ง หรือขโมยของใช้ผู้อื่น
  7. ความรับผิดชอบต่อการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
  8. การไม่ลอก หรือไม่นำผลงานของคนอื่นมาเป็นของตนเอง
  9. ความหมายของการแบ่งปัน
  10. พฤติกรรมการแบ่งปันและปฏิบัติตนเป็นผู้ที่มีความละอายและไม่ทนต่อการทุจริต
  11. การแต่งกายด้วยตนเองและการไม่นำเอาเครื่องแต่งกายของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง
  12. ความหมายของกิจวัตรประจำวัน
  13. ข้อดีและข้อเสียของการปฏิบัติ และไม่ปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
  1. Sufficient : ความหมายของความพอเพียง
  2. Transparent : ความหมายของความโปร่งใส
  3. Realise/Knowledge : ความหมายของความตื่นรู้และความรู้
  4. Onward : ความหมายของการมุ่งไปข้างหน้า
  5. Generosity : ความหมายของความเอื้ออาทร
  6. ความหมายของการต้านทุจริต
  7. การรับประทานอาหารที่สอดคล้องกับ STRONG
  8. การช่วยเหลือเพื่อนที่สอดคล้องกับ STRONG
  9. การใช้กระดาษที่สอดคล้องกับ STRONG
พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม
  1. ความรับผิดชอบต่อตนเอง (การแปรงฟัน, การแต่งกาย, การรับประทานอาหาร)
  2. ความรับผิดชอบต่อสังคม (การเก็บขยะ, ทำความสะอาดในห้องเรียน)

ร้านหนังสือ   (e-Book Store)

สงวนลิขสิทธิ์ 2565 สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ต้องการความช่วยเหลือ ?