Course Syllabus   (รายละเอียดหลักสูตร)

Course Description   (คำอธิบายหลักสูตร)

รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 นี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้สถานศึกษาที่จัดทำการสอนในระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพิ่มเติมจากหลักสูตรปกติ เพื่อปลูกฝังการเป็นพลเมืองที่ซื่อสัตย์สุจริตให้กับเยาวชน นำไปสู่เป้าหมายการลดปัญหาทุจริตคอร์รัปชันของประเทศ

Course Outline   (โครงสร้างรายวิชา)

  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านทุจริต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองกับการรับผิดชอบของสังคม

Instruction Method and Assessment   (วิธีการสอนและการประเมินผล)

สื่อ e-Learning จำนวน 4 เรื่อง ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) นักเรียนแต่ละคนต้องมีบัญชี (Account) ของตนเองในการเข้าสู่ระบบ (Login) เพื่อเข้าเรียนและทำแบบทดสอบ หากได้คะแนนผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 70 จะได้รับใบประกาศนียบัตรจาก ป.ป.ช.

บทเรียนแบบ e-Learning

จริยธรรมหรือทุจริต เส้นทางที่ต้องเลือก
รูปแบบและสาเหตุของการทุจริต
ต้านทุจริตด้วยความพอเพียงและความโปร่งใส
ตัวเรามีสิทธิ ผู้อื่นก็มีสิทธิ

จริยธรรมหรือทุจริต เส้นทางที่ต้องเลือก

แผนการจัดการเรียนรู้

ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริต (โลก)


จุดประสงค์การเรียนรู้

บอกความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริตได้


การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

รูปแบบและสาเหตุของการทุจริต

แผนการจัดการเรียนรู้

ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. อธิบายความหมายของการทุจริตได้
  2. อธิบายรูปแบบของการทุจริตได้
  3. ระบุสาเหตุที่ทำให้เกิดการทุจริตได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

ต้านทุจริตด้วยความพอเพียงและความโปร่งใส

แผนการจัดการเรียนรู้

STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความพอเพียงกับการต้านทุจริตได้
  2. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความโปร่งใสกับการต้านทุจริตได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

ตัวเรามีสิทธิ ผู้อื่นก็มีสิทธิ

แผนการจัดการเรียนรู้

ความเป็นพลเมืองไทยกับความเป็นพลเมืองโลก


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. อธิบายความหมายและความสำคัญของการเคารพสิทธิตนเองและผู้อื่นทั้ง 3 ประเภทได้
  2. ระบุแนวปฏิบัติในการเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่นได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

บทเรียนแบบ e-Book

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม

ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต

STRONG จิตพอเพียงต้านทุจริต

พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  1. ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริต (โลก)
    • 1.1 หลักการแยกแยะระหว่างจริยธรรมและการทุจริต
    • 1.2 เกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างจริยธรรมและการทุจริต
      • ผลจากการกระทำไม่ทำให้ตนเองและผู้อื่นเดือดร้อน
      • การกระทำสอดคล้องกับคุณธรรม
  2. ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (โลก)
    • 2.1 ความแตกต่างระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ที่ส่งผลต่อประเทศชาติและสังคมโลก
  3. การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (โลก)
    • 3.1 การขัดกันที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคล สังคม ประเทศชาติ และสังคมโลก
  4. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทุจริต
    • 4.1 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561
  5. ผลประโยชน์ทับซ้อน (โลก)
    • 5.1 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ทับซ้อน
    • 5.2 รูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อน (โลก)
ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  1. ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  2. แนวทางการแก้ปัญหาและวิธีการปฏิบัติ
STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
  1. STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
  2. จิตพอเพียงต้านทุจริต
พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม
การศึกษาเกี่ยวกับความเป็นพลเมือง ในบริบทต่างประเทศ
  1. ความเป็นพลเมืองไทยกับความเป็นพลเมืองโลก
  2. พลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อการป้องกันการทุจริต
  3. ความเป็นพลเมืองไทยที่สมบูรณ์

ร้านหนังสือ   (e-Book Store)

สงวนลิขสิทธิ์ 2565 สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ต้องการความช่วยเหลือ ?