Course Syllabus   (รายละเอียดหลักสูตร)

Course Description   (คำอธิบายหลักสูตร)

รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 5 นี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้สถานศึกษาที่จัดทำการสอนในระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 5 นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพิ่มเติมจากหลักสูตรปกติ เพื่อปลูกฝังการเป็นพลเมืองที่ซื่อสัตย์สุจริตให้กับเยาวชน นำไปสู่เป้าหมายการลดปัญหาทุจริตคอร์รัปชันของประเทศ

Course Outline   (โครงสร้างรายวิชา)

  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านทุจริต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองกับการรับผิดชอบของสังคม

Instruction Method and Assessment   (วิธีการสอนและการประเมินผล)

สื่อ e-Learning จำนวน 4 เรื่อง ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) นักเรียนแต่ละคนต้องมีบัญชี (Account) ของตนเองในการเข้าสู่ระบบ (Login) เพื่อเข้าเรียนและทำแบบทดสอบ หากได้คะแนนผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 70 จะได้รับใบประกาศนียบัตรจาก ป.ป.ช.

บทเรียนแบบ e-Learning

โอกาสในการทุจริต
การทุจริตในประเทศไทยแก้ปัญหาได้อย่างไร
โมเดล STRONG เพื่อเกษตรกรไทย
เยาวชนญี่ปุ่น

โอกาสในการทุจริต

แผนการจัดการเรียนรู้

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมที่มีผลต่อประเทศในระดับอาเซียน


จุดประสงค์การเรียนรู้

อธิบายสถานการณ์ของประเทศที่ทำให้เกิดโอกาสในการทุจริต


การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

การทุจริตในประเทศไทยแก้ปัญหาได้อย่างไร

แผนการจัดการเรียนรู้

ปัญหาการทุจริตที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและผลกระทบต่อประเทศไทย


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. อธิบายขั้นตอนการทุจริตคดีทุจริตจัดซื้อรถและเรือดับเพลิงของกรุงเทพมหานครได้
  2. อธิบายแนวทางการแก้ปัญหาการทุจริตที่เกิดขึ้นในประเทศไทยได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

โมเดล STRONG เพื่อเกษตรกรไทย

แผนการจัดการเรียนรู้

การแก้ปัญหาการทุจริตในสังคมไทย โดยยึดหลัก STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต


จุดประสงค์การเรียนรู้

วิเคราะห์โมเดล STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต จากสื่อที่กำหนดได้


การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

เยาวชนญี่ปุ่น

แผนการจัดการเรียนรู้

การศึกษาเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองในบริบทต่างประเทศ (ประเทศญี่ปุ่น)


จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. อธิบายการพัฒนาการเป็นพลเมืองตามนโยบายการพัฒนาเด็กและเยาวชนของญี่ปุ่นได้
  2. แสดงตัวอย่างการนำข้อคิดจากการศึกษาเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองในบริบทต่างประเทศ (ประเทศญี่ปุ่น) มาประยุกต์ใช้ในประเทศไทยได้

การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

บทเรียนแบบ e-Book

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม

STRONG จิตพอเพียงต้านทุจริตความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต

STRONG จิตพอเพียงต้านทุจริต

พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  1. การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมที่ส่งผลต่อประเทศในระดับอาเซียน
  2. ผลของพฤติกรรมที่เกิดจากระบบคิดฐานสอง ไปแก้ระบบคิดฐานสิบส่งผลต่อระดับประเทศ สังคมโลก
  3. การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (สังคม ประเทศชาติ โลก)
    • 3.1 แนวทางการแก้ปัญหาการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ที่ส่งผลต่อสังคมและประเทศ
    • 3.2 กฎหมายที่ส่งผลต่อการแก้ปัญหาการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  4. ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริต (สังคม)
    • 4.1 ประมวลกฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาการทุจริต
    • 4.2 ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรม คุณธรรม ที่ส่งผลต่อการแก้ไขปัญหาการทุจริต
  5. ผลประโยชน์ทับซ้อนที่ส่งผลต่อระดับประเทศ
ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
ตัวอย่างกรณีศึกษา ปัญหาการทุจริตที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและผลกระทบต่อประเทศไทย
STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
  1. กรณีตัวอย่างการแก้ปัญหาการทุจริตในสังคมไทยโดยยึดหลัก STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านทุจริต
  2. แนวทางการนำหลัก STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านทุจริต มาพัฒนาสังคมไทย
พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม
การศึกษาเกี่ยวกับความเป็นพลเมือง ในบริบทต่างประเทศ
  1. ประเทศญี่ปุ่น
  2. ประเทศเกาหลีใต้

ร้านหนังสือ   (e-Book Store)

สงวนลิขสิทธิ์ 2565 สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ต้องการความช่วยเหลือ ?