Course Syllabus   (รายละเอียดหลักสูตร)

Course Description   (คำอธิบายหลักสูตร)

การป้องกันการทุจริต ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 นี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้สถานศึกษาที่จัดทำการสอนในระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพิ่มเติมจากหลักสูตรปกติ เพื่อปลูกฝังการเป็นพลเมืองที่ซื่อสัตย์สุจริตให้กับเยาวชน นำไปสู่เป้าหมายการลดปัญหาทุจริตคอร์รัปชันของประเทศ

Course Outline   (โครงสร้างรายวิชา)

  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านทุจริต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองกับการรับผิดชอบของสังคม

Instruction Method and Assessment   (วิธีการสอนและการประเมินผล)

สื่อ e-Learning จำนวน 4 เรื่อง ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) นักเรียนแต่ละคนต้องมีบัญชี (Account) ของตนเองในการเข้าสู่ระบบ (Login) เพื่อเข้าเรียนและทำแบบทดสอบ หากได้คะแนนผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 70 จะได้รับใบประกาศนียบัตรจาก ป.ป.ช.

บทเรียนแบบ e-Learning

เจ้าหน้าที่รัฐกับผลประโยชน์จากการปฏิบัติงาน
สถานการณ์การทุจริตในประเทศไทย
ธรรมะโฆษณา “ขนมปังเทวดา”
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการจัดกิจกรรมเสริมสำนึกความเป็นพลเมืองแก่เยาวชน

เจ้าหน้าที่รัฐกับผลประโยชน์จากการปฏิบัติงาน

แผนการจัดการเรียนรู้

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมที่ส่งผลต่อระดับประเทศ


จุดประสงค์การเรียนรู้

แสดงตัวอย่างการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่รัฐ ที่มีผลประโยชน์ส่วนตนมาเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ส่วนรวม ในระดับประเทศ


การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

สถานการณ์การทุจริตในประเทศไทย

แผนการจัดการเรียนรู้

ผลกระทบที่เกิดจากความไม่ละอายและการเพิกเฉยต่อการทุจริต


จุดประสงค์การเรียนรู้

อธิบายเปรียบเทียบสถานการณ์ทุจริตในประเทศไทยเทียบกับประเทศอื่นได้


การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

ธรรมะโฆษณา “ขนมปังเทวดา”

แผนการจัดการเรียนรู้

การสร้างสรรค์ภาพยนตร์สั้นโดยใช้หลัก STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต


จุดประสงค์การเรียนรู้

วิเคราะห์โมเดล STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต จากสื่อที่กำหนดได้


การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการจัดกิจกรรมเสริมสำนึกความเป็นพลเมืองแก่เยาวชน

แผนการจัดการเรียนรู้

กรณีศึกษาภาคเหนือ : จังหวัดลำปาง กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสำนึกความเป็นพลเมืองแก่เยาวชนจังหวัดลำปาง


จุดประสงค์การเรียนรู้

อธิบายปัจจัยแห่งความสำเร็จในการจัดกิจกรรมเสริมสำนึกความเป็นพลเมืองแก่เยาวชนได้


การประเมินผล

สอบท้ายบทเรียน เกณฑ์ผ่านร้อยละ 70 หรือมากกว่า

บทเรียนแบบ e-Book

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม

STRONG จิตพอเพียงต้านทุจริต ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต

STRONG จิตพอเพียงต้านทุจริต

พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  1. การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมที่ส่งผลต่อระดับประเทศ
  2. ระบบคิดฐานสองที่ส่งผลต่อตนเอง ประเทศ และโลก
  3. การอภิปราย เสวนา สัมมนา ระบบคิดฐานสิบ ที่ส่งผลต่อตนเอง ประเทศ และโลก
  4. กฎหมายประมวลจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน ครู
  5. การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมที่ส่งผลต่อสังคม ประเทศ
  6. ปัญหาของผลประโยชน์ทับซ้อนที่ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ
  7. ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 1 (1) โดยทุจริต
ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
  1. ผลกระทบที่เกิดจากความไม่ละอายและการเพิกเฉยต่อการทุจริต
  2. แนวทางการแก้ปัญหาและวิธีการปฏิบัติ
STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
  1. การสร้างสรรค์ภาพยนตร์สั้นโดยใช้หลัก STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
  2. วิเคราะห์ภาพยนตร์สั้นโดยใช้หลัก STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม
  1. แนวทางการสร้างเสริมสำนึกความเป็นพลเมือง กรณีศึกษาประเทศไทย
    • 1) กรณีภาคเหนือ จังหวัดลำปาง
      • 1.1) กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสำนึกความเป็นพลเมืองแก่เยาวชนในจังหวัดลำปาง
      • 1.2) ปัญหา อุปสรรค และปัจจัยสู่ความสำเร็จในการสร้างเสริมสำนึกความเป็นพลเมืองแก่เด็กและเยาวชน
      • 1.3) แนวทางในการพัฒนารูปแบบกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสำนึกความเป็นพลเมืองแก่เด็กและเยาวชน
    • 2) กรณีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร
      • 2.1) กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสำนึกความเป็นพลเมืองแก่เยาวชนในจังหวัดสกลนคร
      • 2.2) ปัญหา อุปสรรค และปัจจัยสู่ความสำเร็จในการสร้างเสริมสำนึกความเป็นพลเมืองแก่เด็กและเยาวชน
      • 2.3) แนวทางในการพัฒนารูปแบบกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสำนึกความเป็นพลเมืองแก่เด็กและเยาวชน
    • 3) กรณีภาคใต้ จังหวัดยะลา
      • 3.1) กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสำนึกความเป็นพลเมืองแก่เยาวชนในจังหวัดยะลา
      • 3.2) ปัญหา อุปสรรค และปัจจัยสู่ความสำเร็จในการสร้างเสริมสำนึกความเป็นพลเมืองแก่เด็กและเยาวชน
      • 3.3) แนวทางในการพัฒนารูปแบบกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสำนึกความเป็นพลเมืองแก่เด็กและเยาวชน
  2. การพิจารณาความเป็นพลเมือง
    • 2.1 ด้านคุณค่า ค่านิยม
    • 2.2 ความรู้ ความเข้าใจ
    • 2.3 ทักษะและพฤติกรรม
  3. การสร้างสำนึกพลเมืองต่อสังคมโลก

ร้านหนังสือ   (e-Book Store)

สงวนลิขสิทธิ์ 2565 สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ต้องการความช่วยเหลือ ?