Course Syllabus   (ประมวลรายวิชา)

Course Information   (ข้อมูลของหลักสูตร)

หลักสูตรเพื่อการรู้คิดต้านทุจริตนี้ จัดทำขึ้นเพื่อสร้างโค้ชด้านการรู้คิดต้านทุจริต พัฒนาศักยภาพของผู้สอนเกี่ยวกับบทบาทในการเป็นโค้ชให้กับผู้เรียน ให้มีความสามารถกระตุ้นการรู้คิดอย่างต่อเนื่อง เพื่อดึงศักยภาพของผู้เรียนมาเพื่อพัฒนาตนเอง นอกจากนี้ เป็นการเพิ่มพูนทักษะของผู้สอนให้สามารถนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อในการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้ผู้เรียนจบหลักสูตรนี้เป็นแบบอย่างที่ดีในด้านการต้านทุจริต

Course Outline   (โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร)

ส่วนที่ 1 การสร้างโค้ช
  • วิชาที่ 1 แนวคิดหลักการโค้ชเพื่อการรู้คิดต้านทุจริต
  • วิชาที่ 2 กลไกและกระบวนการโค้ช
  • วิชาที่ 3 เรียนรู้ผู้เรียน
  • วิชาที่ 4 เทคนิคสำคัญในการโค้ช
  • วิชาที่ 5 การประเมินผลการเรียนรู้ที่เสริมพลังต้านทุจริต
ส่วนที่ 2 การเรียนรู้ด้านการป้องกันการทุจริต
  • วิชาที่ 1 การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  • วิชาที่ 2 ความไม่ทนและความอายต่อการทุจริต
  • วิชาที่ 3 การประยุกต์หลักความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
  • วิชาที่ 4 การฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยากร

สอบเพื่อขอรับใบประกาศนียบัตร


ผู้มีสิทธิ์เข้าสอบ ต้องผ่านการเรียนและสอบออนไลน์ในวิชาดังต่อไปนี้มาแล้ว
  • หลักการและแนวคิดที่จำเป็นสำหรับโค้ชเพื่อการรู้คิดต้านทุจริต
  • การโค้ชโดยหลักการ KUSAB ที่สอดคล้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน
  • การคิดไม่ทุจริต และการปฏิบัติที่ไม่เกิดการขัดกันระหว่างผลประโยชน์
  • การไม่ทนต่อการทุจริต
เมื่อระบบตรวจสอบว่าผู้เรียนผ่านครบตามเงื่อนไขแล้ว จะมีปุ่ม แบบทดสอบก่อนจบหลักสูตร ให้ผู้เรียนเข้าสอบ
การประเมินผล : แบบทดสอบก่อนจบหลักสูตร
เกณฑ์การประเมิน : ร้อยละ 70

จุดประสงค์การเรียนรู้   (Learning Objectives)

หลักการและแนวคิดที่จำเป็นสำหรับโค้ชเพื่อการรู้คิดต้านทุจริต

จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. อธิบายหลัก 5 ประการของการโค้ชเพื่อการคิดต่อต้านทุจริตได้
  2. อธิบายความรู้วิชาการที่โค้ชต้องมีได้
  3. อธิบายทักษะที่โค้ชต้องมีได้
  4. อธิบายการใช้หลักสัปปุริสธรรม 7 ในการโค้ชได้
  • การประเมินผล: แบบทดสอบท้ายบทเรียน
  • เกณฑ์การประเมิน: ร้อยละ 70

แนวคิดหลักการโค้ชเพื่อการรู้คิดเพื่อการต่อต้านทุจริต

จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. เพื่อสร้างโค้ชด้านการรู้คิดต้านทุจริต
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้สอนเกี่ยวกับบทบาทในการเป็นโค้ชให้กับผู้เรียน โดยสามารถกระตุ้นการรู้คิดอย่างต่อเนื่อง เพื่อดึงศักยภาพของผู้เรียน
  3. เพื่อเพิ่มพูนทักษะของผู้สอนให้สามารถนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อในการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม
  • การประเมินผล: ไม่มี
  • เกณฑ์การประเมิน: ไม่มี

การโค้ชโดยหลักการ KUSAB ที่สอดคล้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน

จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. อธิบาย KUSAB Training Model ได้
  2. ระบุกลไกการโค้ชที่นำไปสู่ความสำเร็จได้
  3. อธิบายความต่างของผู้เรียนตามหลักจริต 6 ได้
  4. อธิบายความแตกต่างของผู้เรียนตาม Generation ได้
  • การประเมินผล: แบบทดสอบท้ายบทเรียน
  • เกณฑ์การประเมิน: ร้อยละ 70

กลไกและกระบวนการโค้ชเพื่อการรู้คิดเพื่อการต่อต้านทุจริต

จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. เพื่อสร้างโค้ชด้านการรู้คิดต้านทุจริต
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้สอนเกี่ยวกับบทบาทในการเป็นโค้ชให้กับผู้เรียน โดยสามารถกระตุ้นการรู้คิดอย่างต่อเนื่อง เพื่อดึงศักยภาพของผู้เรียน
  3. เพื่อเพิ่มพูนทักษะของผู้สอนให้สามารถนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อในการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม
  • การประเมินผล: ไม่มี
  • เกณฑ์การประเมิน: ไม่มี

เรียนรู้ผู้เรียน

จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. เพื่อสร้างโค้ชด้านการรู้คิดต้านทุจริต
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้สอนเกี่ยวกับบทบาทในการเป็นโค้ชให้กับผู้เรียน โดยสามารถกระตุ้นการรู้คิดอย่างต่อเนื่อง เพื่อดึงศักยภาพของผู้เรียน
  3. เพื่อเพิ่มพูนทักษะของผู้สอนให้สามารถนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อในการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม
  • การประเมินผล: ไม่มี
  • เกณฑ์การประเมิน: ไม่มี

เทคนิคสำคัญในการโค้ช

จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. เพื่อสร้างโค้ชด้านการรู้คิดต้านทุจริต
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้สอนเกี่ยวกับบทบาทในการเป็นโค้ชให้กับผู้เรียน โดยสามารถกระตุ้นการรู้คิดอย่างต่อเนื่อง เพื่อดึงศักยภาพของผู้เรียน
  3. เพื่อเพิ่มพูนทักษะของผู้สอนให้สามารถนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อในการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม
  • การประเมินผล: ไม่มี
  • เกณฑ์การประเมิน: ไม่มี

การประเมินผลการเรียนรู้ที่เสริมพลังต้านทุจริต

จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. เพื่อวัดและประเมินโค้ชด้านการรู้คิดต้านทุจริต
  2. เพื่อนำผลการประเมินมาพัฒนาศักยภาพของผู้สอน
  • การประเมินผล: ไม่มี
  • เกณฑ์การประเมิน: ไม่มี

การคิดไม่ทุจริต และการปฏิบัติที่ไม่เกิดการขัดกันระหว่างผลประโยชน์

จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. อธิบายหลักการคิดไม่ทุจริตได้
  2. อธิบายและแสดงความแตกต่างของระบบการคิดฐาน 10 และระบบการคิดฐาน 2 ได้
  3. อธิบายรูปแบบของการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมได้
  4. ระบุกฎหมายที่เกี่ยวข้องการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมได้
  • การประเมินผล: แบบทดสอบท้ายบทเรียน
  • เกณฑ์การประเมิน: ร้อยละ 70

การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม

จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินเกี่ยวกับการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
  2. เพื่อสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างถูกต้องในเรื่องการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมให้ผู้เรียนนำไปปรับใช้ได้อย่างเหมาะสมกับผู้เข้ารับการฝึกอบรม
  • การประเมินผล: ไม่มี
  • เกณฑ์การประเมิน: ไม่มี

การไม่ทนต่อการทุจริต

จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. แสดงตัวอย่างการไม่ทนต่อการทุจริตได้
  2. อธิบายความหมายและการวิธีการลงโทษทางสังคมได้
  3. ระบุช่องทางและวิธีการร้องเรียนการทุจริตได้
  4. ระบุมาตรการของรัฐในการคุ้มครองผู้เป็นพยานคดีทุจริต
  • การประเมินผล: แบบทดสอบท้ายบทเรียน
  • เกณฑ์การประเมิน: ร้อยละ 70

กลไกและกระบวนการโค้ชเพื่อการรู้คิดเพื่อการต่อต้านทุจริต

จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินเกี่ยวกับความไม่ทนและความอายต่อการทุจริต
  2. เพื่อสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างถูกต้องในเรื่องความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ให้ผู้เรียนนำไปปรับใช้ได้อย่างเหมาะสมกับผู้เข้ารับการฝึกอบรม
  • การประเมินผล: ไม่มี
  • เกณฑ์การประเมิน: ไม่มี

การประยุกต์หลักความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต

จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินเกี่ยวกับการประยุกต์หลักความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต
  2. เพื่อสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างถูกต้องในเรื่องการประยุกต์หลักความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต ให้ผู้เรียนนำไปปรับใช้ได้อย่างเหมาะสมกับผู้เข้ารับการฝึกอบรม
  • การประเมินผล: ไม่มี
  • เกณฑ์การประเมิน: ไม่มี

เทคนิคสำคัญในการโค้ช

จุดประสงค์การเรียนรู้

เพื่อฝึกทักษะการเป็นวิทยากรที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ในเรื่องการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ความไม่ทนและความอายต่อการทุจริต กาประยุกต์หลักความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต

  • การประเมินผล: ไม่มี
  • เกณฑ์การประเมิน: ไม่มี

สอบเพื่อขอรับใบประกาศนียบัตร

ผู้มีสิทธิ์เข้าสอบ ต้องผ่านการเรียนและสอบออนไลน์ในวิชาดังต่อไปนี้มาแล้ว

  1. หลักการและแนวคิดที่จำเป็นสำหรับโค้ชเพื่อการรู้คิดต้านทุจริต
  2. การโค้ชโดยหลักการ KUSAB ที่สอดคล้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน
  3. การไม่ทนต่อการทุจริต

เมื่อระบบตรวจสอบว่าผู้เรียนผ่านครบตามเงื่อนไขแล้ว จะมีปุ่ม แบบทดสอบก่อนจบหลักสูตร ให้ผู้เรียนเข้าสอบ

การประเมินผล : แบบทดสอบก่อนจบหลักสูตร
เกณฑ์การประเมิน : ร้อยละ 70

บทเรียนแบบ e-Learning

แนวคิดหลักการโค้ชเพื่อการรู้คิดต้านทุจริต
กลไกและกระบวนการโค้ช
เรียนรู้ผู้เรียน
เทคนิคสำคัญในการโค้ช

หลักสูตรโค้ชรู้คิดต้านทุจริต (1) แนวคิดหลักการโค้ชเพื่อการรู้คิดต้านทุจริต

หลักสูตรโค้ชรู้คิดต้านทุจริต (2) กลไกและกระบวนการโค้ช

หลักสูตรโค้ชรู้คิดต้านทุจริต (3) เรียนรู้ผู้เรียน

หลักสูตรโค้ชรู้คิดต้านทุจริต (4) เทคนิคสำคัญในการโค้ช

หลักสูตรโค้ชรู้คิดต้านทุจริต (5) การประเมินผลการเรียนรู้ที่เสริมพลังต้านทุจริต

หลักสูตรโค้ชรู้คิดต้านทุจริต (1) การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม

หลักสูตรโค้ชรู้คิดต้านทุจริต (2) ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต

หลักสูตรโค้ชรู้คิดต้านทุจริต (3) การประยุกต์หลักความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG - จิตพอเพียงต้านทุจริต

หลักสูตรโค้ชรู้คิดต้านทุจริต (4) ง การฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยาก

ร้านหนังสือ   (e-Book Store)

สงวนลิขสิทธิ์ 2565 สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ต้องการความช่วยเหลือ ?